Apr 30, 2008

การเพาะเห็ดเข็มเงินหรือเห็ดเข็มทอง
















เห็ดเข็มเงินหรือเห็ดเข็มทอง

ดํ าเกิง ปองพาล และปรีชา รัตนัง สาขาพืชผัก ภาควิชาพืชสวน
คณะผลิตกรรมการเกษตรมหาวิทยาลัยแมโจ


เห็ดเข็มเงินหรือเข็มทอง อยูในตระกูลเดียวกัน แตเดิมนั้นเกิด
ขึ้นเองบนตอ
ไมผุ ในปา ตอมาไดนํ ามาเพาะเลี้ยงและพัฒนา
การเพาะเลี้ยงมาเรื่อย ๆ
ถือเปนเห็ดที่มีความสํ าคัญทางเศรษฐกิจ
อีกชนิดหนึ่ง เห็ดเข็มเงิน หรือ
เข็มทองมีลักษณะทางสัณฐาน
วิทยาแตกตางกันเล็กนอย แตมีคุณคาทาง
โภชนาการเหมือนกัน
ทุกประการ ซึ่งประกอบดวย โปรตีน ไขมัน เยื่อใย และสวนที่เปน
เถารอยละ 31.2, 5.8, 3.3 และ 7.6 ตามลํ าดับลักษณะของ

ดอกเห็ด ทั้งหมวกดอก กานดอกเหมือนเข็มหมุด ยาวเรียวมี
ความกรอบสูง เปนเห็ดที่เจริญไดดีในสภาพ อากาศเย็น เชน
เดียวกับเห็ด แชมปญอง และเห็ดหอม





การจํ าแนกเห็ดเข็มทอง


ชื่อวิทยาศาสตร Flammulina velutipes Karst.

ชื่อสามัญ เห็ดเข็มเงิน เห็ดเข็มทอง
(Golden needle
mushroom, Velvet stem collybia,
Velvet agaric, Winte
r mushroom, Enoki)
Subdivision Basidiomycotina
Class Hymenomycetes
Subclass Holobasidiomycetidae
Order Agaricales (Agarics)
Family Trichlomataceae
Genus Flammulina
Specie velutipes


อัจฉราและสุภาวดี(2535) รายงานวา กองโรคพืชและจุลชีววิทยา
กรมวิชาการเกษตร โดยอาจารย
ดารา พวงสุวรรณ อดีตผูเชี่ยวชาญ
พิเศษกรมวิชาการเกษตรซึ่งไดเดินทางไปดูงา
การเพาะเลี้ยงเห็ด
เข็มเงิน
ที่ประเทศญี่ปุน เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2534 พรอมกับนําเ
ชื้อพันธุเห็ดเข็มเงินเขามา ไดดํ าเนินการ
เพาะ เลี้ยง ณ กองโรคพืช
และจุลชีววิทยากรมวิชาการเกษตร ผลการทดลองมีแนวโนมที่มี
ความเปนไปไดที่จะ
เพาะเลี้ยงเห็ดชนิดนี้ ไดในประเทศไทยหาก
ไดมีการพัฒนาวิธีการเพาะและหองเพาะเลี้ยง ใหมีสภาพ
เหมาะ
สมคุมคากับการลงทุน




ขอแตกตางของเห็ดเข็ม
เงินและเข็มทอง

เห็ดเข็มเงิน มีกานดอกและหมวกดอกสีขาว เปนเห็ดที่นิยม
รับ
ประทานกันมานาน หลายศตวรรษ โดยประเทศญี่ปุนได
พัฒนาการเพาะเลี้ยง
จากขอนไมมาเพาะลง ในถุงอาหารขี้
เลื่อย จนกลายเปนเห็ดเศรษฐกิจที่รูจักกันดี
ในปจจุบัน


เห็ดเข็มทอง


เปนเห็ดตระกูลเดียวกันกับเห็ดเข็มเงิน มีกานดอกและหมวก
ดอกสีเหลืองทอง สวน
บริเวณ โคนกานมีสีนํ้ าตาลดํ า นิยม
เพาะเลี้ยงในประเทศจีนเพื่อสกัดเปน
เครื่องดื่มบํารุงสุขภาพ
ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเห็ดใหไดผลผลิต


1. การแยกเชื้อ เชื้อเห็ดเข็มเงิน สายพันธุที่นํ ามาศึกษานี้นํ า
เขามาจากประเทศญี่ปุน ในรูปกอน
เชื้อบรรจุ ในขวดพลาสติก
ทํ าการแยกเชื้อบริสุทธิ์และศึกษาลักษณะทางชีววิทยาเบื้อง
ตนไว แมเชื้อเห็ดเข็ม
เงินใน อาหารวุน พี ดี เอ เจริญเต็มจาก
แกวขนาด 9 เซนติเมตร ภายในเวลา 10 วัน ขยายตอลงใน
เมล็ดขาว
ฟาง ซึ่งเสนใยเมล็ดเห็ดเข็มเงินเจริญเต็มเมล็ดฟาง
ขาว 100 กรัม ในเวลา 12 วัน



2. การเตรียมอาหาร วัสดุที่ใชผสมเปนอาหารเพาะเลี้ยงเห็ด
เข็มเงิน ประกอบดวย


- ขี้เลื่อยไมยางพารา 75 กิโลกรัม


- รํ าละเอียด 20 กิโลกรัม


- ขาวโพดบด 5 กิโลกรัม

- นํ้ า 60 กิโลกรัม


วัสดุทั้งหมดนี้นํ ามาคลุกใหเขากันอยางดี จะมีความชื้น 60-65 %
นําอาหารที่เตรียมแลวนี้ไปบรรจุ
ในถุงพลาสติกทนรอน ขนาด
7 x 12 นิ้ว อาจบรรจุในพลาสติกไดอัดใหแนนจะไดปริมาณ
อาหารถุงละ 600
กรัม (วิธีบรรจุ เชนเดียวกับการเตรียมถุงอาหาร
เห็ดโดยทั่วไป) ใสคอขวด ปดจุกสํ าลี


3. การนึ่งอาหาร ถุงอาหารขี้เลื่อยผสมที่เตรียมไวแลวนี้ นํ าไป
ผานการฆาเชื้อ โดยนึ่งในหมอนึ่ง
ไมอัดความดัน อุณหภูมิประมาณ
100 o ซ เปนเวลา 3 ชั่วโมง
หรือนึ่งดวยหมอนึ่งอัดความดัน
อุณหภูมิ
ประมาณ 121 o ซ เปนเวลา 1-2 ชั่วโมง


4. การใสเชื้อเห็ดเข็มเงิน ถุงอาหารขี้เลื่อยผสม ซึ่งผานการนึ่งแลว
ทิ้งไวใหเย็นลง นํ ามาใสเชื้อ
เห็ดเข็มเงิน ที่เจริญในเมล็ดขาวฟาง
ถุงละ 15-20 เมล็ด


5. การบม นําถุงขี้เลื่อยซึ่งใสเชื้อเห็ดเข็มเงินแลว ไปบมในหอง
อุณหภูมิประมาณ 20-21 o ซ



การปฏิบัติในระยะใหผลผลิต


• เมื่อเสนใยเห็ดเข็มเงินเจริญเต็มถุง ยายถุงเพาะเลี้ยงไปยังหอง
เปดดอก อุณหภูมิ 13-15 o ซ
ความชื้นสัมพัทธ 80-85 % เปด
จุกสํ าลีออก

• เมื่อเกิดดอกเล็ก ๆใหแสงและถอดคอขวดออก ปลอยใหดอก
สูงประมาณ 2-3 เซนติเมตรจึงใช
มวนกระดาษสวมครอบถุงเห็ด
กานดอกจะชูหาแสงสวางทําใหกานยาวและหมวกดอกโตอยาง
สมบูรณ ชวง
นี้ปรับอุณหภูมิใหสูงขึ้นเปน 16-18 o ซ


การเก็บดอกเห็ด


กานดอกเห็ดยาวประมาณ 9-14 เซนติเมตร หมวกดอกจะมี
ขนาด 1-2 เซนติเมตร เก็บดอก โดย
ดึงกลุมดอกเห็ดทั้งหมด
ดอกเข็มเงินเก็บรักษา ไวในตูเย็นไดไมนอย
กวา 7 วัน โดยยัง
คงความสดของดอกและสีไม เปลี่ยนแปลงไปจาก
เดิม



การเพาะเลี้ยงเห็ดเข็มเงิน เข็มทอง สามารถสรุปเปนระยะ
การเจริญเติบโตในระยะเวลา(จํ านวนวัน) ออกเปนตาราง
รวมทั้งผล
ผลิตที่จะไดรับตอกอนเชื้อเห็ดหนัก 600 กรัม
ดังรายละเอียดในตา
รางที่1



ตารางที่ 1
การเจริญเติบโตระยะตาง ๆของเห็ดเข็มเงิน



หมายเหตุ

ระยะสรางตุมดอกจนถึงเก็บเกี่ยวผลผลิตใชเวลา 25-28 วัน และ
อาจไดผลผลิตสูงถึง 150-200
กรัม/ขวด (ถุง) (สํ าเภา 2539)


อนาคตตลาดเห็ดเข็มเงินในประเทศไทย

เห็ดเข็มเงินเปนเห็ดเศรษฐกิจ ของประเทศญี่ปุน ไตหวัน
เกาหลี ฯลฯ นําเขามาขายในประเทศไทย
ในราคากิโลกรัม
ละหลายรอยบาท เพราะตองขนสงทางเครื่องบิน ซึ่งราคา
ซื้อขายในประเทศญี่ปุนไมตํ่ า กวา
กิโลกรัมละ 200 - 300
บาท
ฉะนั้นหากจะมีการเพาะเลี้ยงในประเทศไทยควรจะเพาะ
เลี้ยงไดในบริเวณพื้นที่สูงทางภาคเหนือ
ชวงอากาศหนาวเย็น หรือเพาะเลี้ยงไดทั่วไปในสภาพหองควบคุมอุณหภูมิที่เห็ด
ชนิดนี้ตองการเพื่อการสราง
ดอกเห็ดและหากมีการพัฒนาหอง
เพาะเลี้ยงใหคุมคาการลงทุนหรือปรับปรุงสายพันธุเห็ดเข็ม
เงินให
สามารถเพาะไดในอุณหภูมิสูงขึ้นแลวในอนาคตเรา
คงจะมีโอกาสไดรับประทานเห็ดชนิดนี้กันมากขึ้น ใน
ราคา
ถูกลง


----------------------------------------------------

เอกสารอางอิง

ประเสริฐ สองเมือง 2540. เห็ดเข็มเงินที่คนญี่ปุนชอบรับประทาน.
น.ส.พ. กสิกร.70(2) : 178-174

สํ าเภา ภัทรเกษวิทย. การเพาะเห็ดเข็มทองแบบอุตสาหกรรม,
น. 155 – 118. ในเห็ดไทย 2539.

ชมรมถายทอดเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
กรุงเทพฯ.

อัจฉรา พยัพพานนท และ สุภาวดี อัตชู. 2535. เห็ดเข็มเงิน,
น.ส.พ. กสิกร. 69 (6) : 715 - 718

No comments: